วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การสอดคล้องคำระหว่างประธาน-กริยาในประโยค ( Subject-verb agreement )

Subject  Verb Agreement
                   ในประโยคภาษาอังกฤษ  ประธานของประโยค ( Subject ) และการใช้คำกริยา  (Verb )                     จะต้องสอดคล้องกัน กล่าวคือ ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นเอกพจน์  ถ้าประธานเป็นพหูพจน์ กริยาต้องเป็นพหูพจน์   ปัญหาสำหรับผู้เรียนคือ ไม่แน่ใจว่าประธานเป็นเอกพจน์หรือพหุพจน์  เช่น
government , committee  ซึ่งเป็นได้ทั้งเอกพจน์ และพหูพจน์ แล้วแต่การใช้
furniture,money  ดูน่าจะเป็นพหูพจน์ แต่ในภาษาอังกฤษคำเหล่านี้เป็นนามนับไม่ได้                     มีความหมายเป็นเอกพจน์
police, people  ใช้อย่างพหูพจน์เท่านั้น
                   เพราะฉะนั้น ผู้เรียนจะต้องทำความเข้าใจเรื่อง nouns รวมทั้งข้อยกเว้นต่างๆให้ถ่องแท้                           จึงจะสามารถใช้คำกริยาให้สอดคล้อง กับประธานได้อย่างถูกต้อง
 หลักการใช้กริยาให้สอดคล้องกับประธาน
1. ประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเป็นเอกพจน์ ประธานเป็นพหูพจน์ กริยาเป็นพหูพจน์
Jane lives in China. เจนอาศัยอยู่ในประเทศจีน...อ่านต่อ

คำบุพบทบอกเวลา (prepositions of time )การเรียงลำดับคำ ( word order ) สถานที่ ( place ) และเวลา ( Time )

คำบุพบท คือ  คำที่ใช้บอกตำแหน่ง  บอกสถานที่  บอกทิศทาง  แสดงการเคลื่อนไหว  หรือ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำนาม หรือสรรพนามกับคำอื่นๆ ในประโยค มักตามด้วย Noun, Noun Phrase, Pronoun, Noun Clause หรือ Gerund (V-ing)   ทั้งนี้ คำบุพบทในภาษาอังกฤษมีมากมายเลยล่ะค่ะ แต่ก็มีอยู่บางกลุ่มที่นักเรียนมักใช้ผิดอยู่บ่อยๆ นั่นคือ  in, on, at  ที่ใช้ในการแสดงเวลา และสถานที่ นั่นเองค่ะ   ซึ่งสาเหตุที่เรามักจะใช้ผิดก็เพราะ ส่วนใหญ่มักใช้ตามความหมายแบบไทยๆ ดังนั้น วันนี้...อ่านต่อ

รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions )

Phrase Prepositions or Conglomerate Prepositions
(บุพบทวลีหรือบุพบทที่เกิดจากการรวมคำ)


       นอกจากจะมีบุพบทคำเดียวเช่น on, in, about, outside, underneath เป็นต้นแล้วยังมีกลุ่มคำอีก
พวกหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นบุพบท ได้แก่...อ่านต่อ

ประธาน กริยา และกรรม

ประธาน กริยา กรรม  คืออะไร สำคัญอย่างไร

จากบทเรียนที่แล้วก็ได้เรียนรู้ไปแล้วว่า ประโยคประกอบด้วย ประธาน กริยา กรรม แล้วประธาน กริยา และกรรม คือะไร
ขออธิบายสั้นๆ ดังนี้
  • ประธาน คือ ผู้กระทำ
  • กริยา     คือ การการะทำ
  • กรรม คือ ผู้ถูกกระทำ
A monkey eats a banana.
ลิง            กิน      กล้วย
ลิง  เป็น ประธาน เพราะเป็นผู้กระทำ
กิน เป็น กริยา เพราะ เป็นการกระทำ...อ่านต่อ

รูปพหูพจน์ของคำนาม

PART 1  คำนามเอกพจน์ (Singular Noun) และคำนามพหูพจน์ (Plural Noun)
คำนามเอกพจน์ คือ คำนามที่แสดงถึงสิ่งของเพียงชิ้นเดียว คนๆเดียว หรือสัตว์ตัวเดียว เช่น กระเป๋า 1 ใบ (a bag) ผู้ชาย 1 คน (a man) พูดง่ายๆเลยก็คือ อะไรก็ตามที่มีเพียงหนึ่งหน่วย เราเรียกว่า คำนามเอกพจน์...อ่านต่อ

การออกเสียงที่ลงท้ายด้วย s/-es

การออกเสียง Verb หลังการเติม s, es

การออกเสียง หรือ es ท้ายคำกริยา ออกเสียงได้ดังนี้

                     1. ออกเสียง เป็น /s/ เมื่อคำกริยาเหล่านั้นลงท้ายด้วย /f/, /k/, /p/, /t/ เช่น...

                              work              =     works
                              sit                   =     sits
                              stop                =     stops
                              laugh              =     laughs

                      2. ออกเสียง เป็น /z/ เมื่อคำกริยานั้นลงท้ายด้วยเสียงก้อง (Voice) ...อ่านต่อ

การเติม s es ที่คำกริยา present simple tense

การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม  s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้าง

หลักการเติม s es มีดังนี้

หากประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเติม s,es ส่วนประธานพหูพจน์ไม่ต้องเติมนะครับ หลักการเติมมีดังนี้...อ่านต่อ

การสอดคล้องคำระหว่างประธาน-กริยาในประโยค ( Subject-verb agreement )

Subject  Verb Agreement                    ในประโยคภาษาอังกฤษ  ประธานของประโยค ( Subject ) และการใช้คำกริยา  (Verb )                    ...